Chitti Kasemkitvatana is a Bangkok based artist, independent curator and educator. His methodology relies on research-based art practice that relates to the use of archival fragments and spatial practice. Applying the new materialist lens, he focuses on entangled ideas in sociocultural history, especially on the moment in which various spheres become “porous”. His artistic operation involves transmission of collective memories via object-device and conversion of data that entails an active process of construction of time in the society. It is to study the convergence of things - in the form of conversation, collision, as well as diffraction.
A recipient of the 22nd Silpa Bhirasri Creativity Grants in 2023 and DAAD Artist-in-Berlin Programme in 2014, his work has been shown in national and international institutions such as The Art Centre Silpakorn University, Bangkok; Museum of Contemporary Art, Taipei; Futura Centre for Contemporary Art, Prague; Centre Pompidou, Paris; daadgalerie, Berlin; CEAAC, Strasbourg; Guangdong Times Museum, Guangzhou; Le Plateau, Paris; Art in General, New York; Succession, Vienna; CAPC, Bordeaux and PS1, New York. His recent exhibitions include The Mountain Algorithms (Kaohsiung Museum of Fine Arts, 2024); The Spirits of Maritime Crossing, a collateral event of 60th La Biennale di Venezia (Palazzo Smith Mangilli Valmarana, 2024); Thailand Biennale, Chiang Rai (Wat Pa Sak and National Museum Chiang Saen, 2023); Bangkok Art Biennale (The Prelude : One Bangkok, 2022), The Tenebrous Spiral Staircase of the - (Gallery VER, 2021) and Stories We Tell To Scare Ourselves With (MOCA Taipei, 2019).
จิตติ เกษมกิจวัฒนา (เกิด พ.ศ. 2512, กรุงเทพฯ) เป็นศิลปิน ภัณฑารักษ์อิสระและนักการศึกษาที่กรุงเทพฯ ของเขา เขาทำงานโดยใช้การวิจัยเป็นพื้นฐาน ใช้ชุดข้อมูลทางประวัติศาสตร์และการทำงานแบบเชื่อมโยงกับพื้นที่ โดยใช้วิถีวัตถุนิยมใหม่เขาเน้นเรื่องแนวความคิดที่พัลวันกันในประวัติศาสตร์สังคมและวัฒนธรรมโดยเฉพาะช่วงเวลาที่ขอบข่ายต่าง ๆ กลายเป็น “รูพรุน” กระบวนการทำงานศิลปะของเขาเกี่ยวข้องกับการถ่ายทอดความทรงจำร่วมผ่านอุปกรณ์กล (object-device) และการแปลงข้อมูล ทั้งนี้เพื่อศึกษาการผสมผสานของสิ่งต่าง ๆ ทั้งในรูปแบบการสนทนา การปะทะรวมทั้งความสัมพันธ์ที่เป็นการโต้ตอบโดยการอ่านผ่านกันและกัน
จิตติได้รับทุนสร้างสรรค์ศิลปกรรมศิลป์ พีระศรีครั้งที่ 22 ประจำปี พ.ศ. 2566 และทุนศิลปินในพำนัก Artist-in-Berlin ขององค์การแลกเปลี่ยนวิชาการเยอรมัน (DAAD) เมื่อปี พ.ศ. 2557ผลงานของเขาจัดแสดงที่สถาบันระดับชาติและนานาชาติ อาทิ หอศิลป์มหาวิทยาลัยศิลปากร (กรุงเทพฯ) พิพิธภัณฑ์ศิลปะร่วมสมัย (ไทเป) ศูนย์ศิลปะร่วมสมัยฟูตูรา (ปราก) ศูนย์ปงปีดู (ปารีส) หอศิลป์เดอาอาเด (เบอร์ลิน) ศูนย์ปฏิบัติการศิลปะร่วมสมัยแห่งยุโรป CEAAC (สทราซบูร์) พิพิธภัณฑ์กว่างตงไทมส์ (กว่างโจว) ศูนย์ศิลปะเลอปลาโต (ปารีส) หอศิลป์อาร์ตอินเจเนอรัล (นิวยอร์ค) สถาบันศิลปะซีเซสซิโอน (เวียนนา) พิพิธภัณฑ์ศิลปะร่วมสมัย CAPC (บอร์โด) และสถาบันศิลปะพีเอสวัน (นิวยอร์ค) นิทรรศการช่วงล่าสุดได้แก่ The Mountain Algorithms (พิพิธภัณฑ์วิจิตรศิลป์เกาสง, พ.ศ. 2567) The Spirits of Maritime Crossing: วิญญาณข้ามมหาสมุทร กิจกรรมพิเศษในเวนิสเบียนนาเล่ครั้งที่ 60 (ปาลัซโซสมิธ มังกิลลี วัลมาราน่า, พ.ศ. 2567) ไทยแลนด์เบียนนาเล่ (วัดป่าสักและพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติเชียงแสน, เชียงราย, พ.ศ. 2566)บางกอกอาร์ตเบียนนาเล่ (เดอะพรีลูด: วันแบงค็อก, พ.ศ. 2565) นิทรรศการ The Tenebrous Spiral Staircase of the – (แกลเลอรี่เวอร์, กรุงเทพฯ, พ.ศ. 2564) และ Stories We Tell To Scare Ourselves With (พิพิธภัณฑ์ศิลปะร่วมสมัย, ไทเป, พ.ศ. 2562)